หน้าแรก
วิธีการทำงาน
ตัวอย่างผลงาน
ราคาค่าออกแบบ
ค้นหาโปรเจค
ค้นหาดีไซเนอร์
กฎสำหรับดีไซเนอร์
English Website Language
094-362-5614
บัญชีของฉัน
ไปยังบัญชีของฉัน
ต้องการขายผลงาน
ดูแบบที่ได้รับล่าสุด
แจ้งชำระเงิน
พิมพ์งานออกแบบ
ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
สร้างโปรเจค
Eng
Framework คืออะไร
เรื่องมีอยู่ว่า ในสายงานโปรแกรมเมอร์นั้น เวลาเราเขียนโค๊ดหรือโปรแกรมด้วยภาษาอะไรสักอย่างมักจะมุ่งเน้นความเป็นส่วนตัว หมายความว่า เรามีไอเดียต่างกัน สไตล์การเขียนต่างกัน รูปแบบในการเขียน การวางโฟลเดอร์ ฯลฯ เยอะแยะมากมาย ถ้าเป็นโปรเจ็คที่่ต้องดูแลคนเดียว ก็โอเคเลย สบาย อารมร์อาร์ตได้เต็มที่ ไม่มีใครมายุ่งยากกับเรา แต่ถ้าเป็นกรณีที่่ต้องใช้หลายคนในการพัฒนา กลายเป็นทีม เราจะมีอะไรที่จูนกันได้ จะเลือกวิธีการเขียนของใคร ใครจะเป็นคนขึ้นโครงสร้าง มันเลือกยาก แล้วถ้าเลือกของคนใดคนหนึ่ง และหลาย ๆ คนก็ต้องมานั่งดูวิธีการรูปแบบอีก ความขัดแย้งในบางประเด็นก็จะถูกยกขึ้นมาขัดแย้งกัน และถามว่า ทำไมเราถึงไม่ทำอะไรให้มันเป็นมาตรฐานเดียวกันตั้งแต่แรก จะได้ไปในทิศทางเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นการเขียน โครงสร้าง และการจัดการ และเพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้แหละ จึงเกิดตัว source code ที่เอาพวกเครื่องมือพื้นฐานที่ต้องใช้ และคิดว่าต้องใช้ มารวมเป็นชุด ๆ หนึ่ง เพื่อให้เราได้ใช้งานเหมือนกัน ที่เรียกว่า framework
Framework คืออะไร
เพราะฉะนั้นตัว Framework ก็จะหมายถึงชุดคำสั่ง เครื่องมือเสร็จสรรพ์ที่พร้อมใช้งาน หรืออาจจะหมายถึงโครงสร้างอย่างใดอย่างหนึ่ง เพราะขึ้นอยู่กับชนิด ประเภทของ Framework ด้วย อ้างอิงจาก
http://en.wikipedia.org/wiki/Framework
Framework กับการเขียนโปรแกรม
เนื่องด้วยปัญหาข้างบน ภาษาต่าง ๆ ก็พยายามจะมี Framework ออกมา บางภาษามีด้วยกันหลายยี่ห้อเลยแหละ ^^ บางทีก็เลือกยาก ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมเป็นหลัก อันนี้ต้องขึ้นอยู่กับประสบการณ์การใช้งาน ใครใช้หลากหลายตัว ก็จะรู้ข้อดีข้อเสีย ของแต่ละตัว ก็สามารถเอามาประยุกต์เข้ากับงานเราได้ ปล. Framework เป็นโครงสร้างการจัดการ ไม่ใช่ภาษา เราอาจจะได้ยินว่า PHP Framework , CSS Framework อันนั้นเป็นการพัฒนาโครงสร้างด้วยภาษานั้น ๆ
ข้อดีของ Framework
ถ้ามองจากปัญหาข้างบนจะรู้ว่า framework นั้นให้อะไรกับเราได้บ้าง
•รวดเร็ว
•ทำงานเป็นทีมได้
•เหมาะกับองค์กรใหญ่ ๆ
ข้อเสียของ Framework
•ทุกสิ่งทุกอย่างมีดีย่อมมีเสียเสมอ ยิ่งมีประโยชน์มาก ยิ่งมีโทษมากเช่นกัน
•มีขนาดของ source โดยรวมใหญ่กว่าที่ควรจะเป็น เพราะบางอย่างเราไม่จำเป็นต้องใช้ แต่ว่ามันดันมีใน Framework
•อาจจะทำให้ผู้ไม่ประสงค์ดีโจมตีได้ง่ายขึ้น เพราะว่า โครงสร้างของ Framework ใคร ๆ ก็รู้ (ถ้าศึกษา)
อ้างอิงจาก
http://www.konkeanweb.com/tag/framework
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
[Detail]
แชร์บน Facebook
บทความที่เกี่ยวข้อง
โลโก้ โตโยต้า มีความลับแผงอยู่ ?
โลโก้รถยนต์มักเป็นที่จดจำมากที่สุดในโลก และของโตโยต้าก็ไม่ต่างกัน การออกแบบสามวงรีนั้นดูเรียบง่ายทีเดียว แต่ในขณะที่โซเช...
13/07/2566 12:05
อ่าน : 1210 ครั้ง
ทำไมโลโก้ Facebook ถึงต้องเป็นสีน้ำเงิน
หลายคนคุ้นเคยกับการใช้ Facebook แต่น้อยคนนึกจะรู้ว่าโลโก้ facebook มีที่มาจากที่ไหนและใครเป็นคนออกแบบโลโก้นี้ วันนี้เรา...
28/02/2559 21:28
อ่าน : 18858 ครั้ง
เคล็ดลับการออกแบบโลโก้สำหรับมือใหม่
ในปัจจุบันการแข่งขันของนักออกแบบเริ่มมีมากขึ้นและสูงเป้นอย่างมาก ดูจากจำนวนของอาชีพนักออกแบบโดยเฉพาะงานกราฟฟิคหรือโลโก...
07/03/2559 19:39
อ่าน : 5542 ครั้ง