8 เทคนิคการใช้ตัวอักษร(FONT)

ตัวอักษรหรือ(FONT)นั้น เป็นอีกหนึ่งองค์ประกอบที่มีความสำคัญมากต่องานออกแบบเกือบทุกชนิด เพราะตัวอักษรจะใช้สื่อถึงชื่อแบรนด์นั้นๆ รวมทั้งรายละเอียดสินค้า ข้อมูลต่างๆของแบรนด์ ตัวอักษรสวยก็มีชัยไปกว่าครึ่ง นักออกแบบมือใหม่หลายๆคน พลาดท่าเพราะตัวอักษรก็เยอะ บางทีอาจจะเลือกตัวอักษรไม่เหมาะกับงานที่เราออกแบบ อาจจะทำให้ดูน้อยเกินไป หรือ เยอะจนเกินไป วันนี้เราไปดู 8 เทคนิคการใช้ตัวอักษร(FONT) สำหรับนักออกแบบมือใหม่ ที่จะทำให้นักออกแบบเข้าใจหลักการใช้ตัวอักษรง่ายขึ้น
1.ตัวอักษรไม่อัดเกินไป
ควรจะจัดตัวอักษรให้พอดีไม่อึดอัดเกินไป เพราะจะทำให้อ่านง่ายสบายตา บางทีถ้าตัวอักษรรก หรืออัดแน่นจนเกินไป ก็จะพาทำให้คนไม่อ่านเพราะรู้สึกไม่สบายตา เพราะฉะนั้นควรให้ความสำคัญต่อการจัดวางตัวอักษรให้พอดี
ออกแบบโลโก้,รับออกแบบโลโก้,ออกแบบบรรจุภัณฑ์,ออกแบบฉลาก,ออกแบบโบรชัวร์,ออกแบบโบชัวร์,ออกแบบนามบัตร,ออกแบบโปสเตอร์,ออกแบบแบนเนอร์,ออกแบบปฏิทิน,ออกแบบผลิตภัณฑ์
2.การเว้นบรรทัดให้พอดี
บางทีหลายคนอาจจะมองข้ามไป การเว้นบรรทัดถ้าเว้นน้อยไปคนอ่านก็จะรู้สึกอึดอัด อ่านยาก ถ้าเว้นบรรทัดเยอะเกินไป คนอ่านก็จะต้องกวาดตาในการมองมากขึ้น ก็จะทำให้รู้สึกปวดตา ไม่น่าอ่าน ดั้งนั้นเราต้องเว้นบรรทัดให้พอดี เพื่อความสวยงามขององค์ประกอบโดยรวม และยิ่งจะทำให้ผู้อ่านอ่านง่ายขึ้น
ออกแบบโลโก้,รับออกแบบโลโก้,ออกแบบบรรจุภัณฑ์,ออกแบบฉลาก,ออกแบบโบรชัวร์,ออกแบบโบชัวร์,ออกแบบนามบัตร,ออกแบบโปสเตอร์,ออกแบบแบนเนอร์,ออกแบบปฏิทิน,ออกแบบผลิตภัณฑ์
3.อย่าปรับ “ขนาด”จนไม่เป็นธรรมชาติ
ในการย่อหรือปรับขนาดทุกครั้ง อย่าลืมกดปุ่ม SHIFT ทุกครั้ง ถ้าคุณย่อหรือปรับขนาดตัวอักษร ถ้าสเกลผิดเพี้ยนงานของคุณจะดูไม่เป็นมืออาชีพเลยทันที ไม่ใช่แต่ตัวอักษรอย่างเดียว รวมถึงตัวโลโก้หรือรูปภาพ ถ้าขนาดสเกลหรือขนาดเพี้ยน ลูกค้าจะไม่สนใจงานของคุณอย่างแน่นอน
ออกแบบโลโก้,รับออกแบบโลโก้,ออกแบบบรรจุภัณฑ์,ออกแบบฉลาก,ออกแบบโบรชัวร์,ออกแบบโบชัวร์,ออกแบบนามบัตร,ออกแบบโปสเตอร์,ออกแบบแบนเนอร์,ออกแบบปฏิทิน,ออกแบบผลิตภัณฑ์
ออกแบบโลโก้,รับออกแบบโลโก้,ออกแบบบรรจุภัณฑ์,ออกแบบฉลาก,ออกแบบโบรชัวร์,ออกแบบโบชัวร์,ออกแบบนามบัตร,ออกแบบโปสเตอร์,ออกแบบแบนเนอร์,ออกแบบปฏิทิน,ออกแบบผลิตภัณฑ์
4.เลือก”สี”ให้เหมาะกับงาน
การเลือกใช้สีให้เหมาะสมกับงานก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญ เพราะสีจะบ่งบอกถึงโทนอารมณ์ของงานออกแบบนั้นๆได้เป็นอย่างดี เพราะฉะนั้นควรคำนึงให้ดีว่าจะให้งานออกแบบของเราควรจะไปในโทนไหน
ออกแบบโลโก้,รับออกแบบโลโก้,ออกแบบบรรจุภัณฑ์,ออกแบบฉลาก,ออกแบบโบรชัวร์,ออกแบบโบชัวร์,ออกแบบนามบัตร,ออกแบบโปสเตอร์,ออกแบบแบนเนอร์,ออกแบบปฏิทิน,ออกแบบผลิตภัณฑ์
5.เลือก ตัวอักษร ให้เหมาะ
ต้องรู้จักเลือกตัวอักษรให้เหมาะกับงาน เช่น ตัวหนังสือที่เป็นตัวเขียน(Calligraphy)ไม่เหมาะกับงานที่เป็นข้อมูล อย่างพวก ID LINE หรือข้อมูลการติดต่ออื่นๆ เพราะจะทำให้อ่านยาก ตัวอักษร(Calligraphy) ส่วนใหญ่จึงเหมาะกับงานจำพวกโลโก้ เพราะว่าสวยเห็นและสะดุดตา
ออกแบบโลโก้,รับออกแบบโลโก้,ออกแบบบรรจุภัณฑ์,ออกแบบฉลาก,ออกแบบโบรชัวร์,ออกแบบโบชัวร์,ออกแบบนามบัตร,ออกแบบโปสเตอร์,ออกแบบแบนเนอร์,ออกแบบปฏิทิน,ออกแบบผลิตภัณฑ์
6.”ติ่ง”หรือ ส่วนเกินข้อความ
หลายครั้งกับงานที่มีเนื้อหายาวๆ ก็จะมีข้อความส่วนเกิน ทั้งๆที่เราจัดดีแล้ว เราก็ควรจะจัดการ เอาส่วนที่เกินกับไปบรรทัดเดียวกันกับพวกพ้องที่มันจากมา เพราะจะทำให้เนื้อหาดูสวยงาม น่าอ่าน ยิ่งขึ้น
ออกแบบโลโก้,รับออกแบบโลโก้,ออกแบบบรรจุภัณฑ์,ออกแบบฉลาก,ออกแบบโบรชัวร์,ออกแบบโบชัวร์,ออกแบบนามบัตร,ออกแบบโปสเตอร์,ออกแบบแบนเนอร์,ออกแบบปฏิทิน,ออกแบบผลิตภัณฑ์
7.อย่ารวม ตัวอักษรเยอะเกิน
บางคนอาจจะปิ้ง เกิดไอเดียลองเอาตัวอักษรแต่ละแบบมาผสมรวมกันในข้อความ จากที่คิดว่าสวยจะกลายเป็นรก อ่านลำบากแทน
ออกแบบโลโก้,รับออกแบบโลโก้,ออกแบบบรรจุภัณฑ์,ออกแบบฉลาก,ออกแบบโบรชัวร์,ออกแบบโบชัวร์,ออกแบบนามบัตร,ออกแบบโปสเตอร์,ออกแบบแบนเนอร์,ออกแบบปฏิทิน,ออกแบบผลิตภัณฑ์
8.เลี่ยง “เอฟเฟ็ค”แสนเชย
พยายามเลี่ยงหรืออย่าใช้ effect ตามโปรแกรมต่างๆ เพราะมันสุดแสนจะเชย ให้ใช้เป็นการเล่นแสงเงาแทนจะดีกว่า
ออกแบบโลโก้,รับออกแบบโลโก้,ออกแบบบรรจุภัณฑ์,ออกแบบฉลาก,ออกแบบโบรชัวร์,ออกแบบโบชัวร์,ออกแบบนามบัตร,ออกแบบโปสเตอร์,ออกแบบแบนเนอร์,ออกแบบปฏิทิน,ออกแบบผลิตภัณฑ์
สนใจงานออกแบบ www.design365days.com
Credit : https://grappik.com/

บทความที่เกี่ยวข้อง